ท่านสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้ทางช่องทางนี้นะครับ
รายละเอียด เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ความเร็วสูงชนิด 390 ภาพ รุ่น NeuViz Prime 390 Slice ยี่ห้อ Neusoft
เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ความเร็วสูงชนิด 390 ภาพ
รุ่น NeuViz Prime 390 Slice ยี่ห้อ Neusoft
แบบ 2 ค่าพลังงานต่อรอบของการสแกน พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
(COMPUTERIZED TOMOGRAPHY with CONTINUOUS MULTI SLICE DUAL ENERGY SPIRAL SCAN)
1. ความต้องการ :
เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ชนิดความเร็วสูง (Multi slice Dual Energy CT Scan) ใช้เทคโนโลยีทันสมัยประสิทธิภาพและสมรรถนะสูง เพื่อใช้ตรวจวินิจฉัยอวัยวะส่วนต่างๆ ได้ทั่วร่างกาย สามารถรองรับเทคโนโลยีใหม่ๆ ทั้งในปัจจุบันและอนาคต สามารถอัพเกรดเพื่อเพิ่มความสามารถให้มีจำนวนภาพในการตัดต่อรอบเพิ่มขึ้นได้ หรือสามารถทำการตรวจวินิจฉัยเพื่อการวางแผนทำการรักษาทางด้านรังสีรักษาได้ ทำให้มีประสิทธิภาพในการตรวจที่ครอบคลุม รองรับเทคโนโลยีที่จะพัฒนาขึ้นในอนาคต
2. วัตถุประสงค์ในการใช้งาน :
ใช้สำหรับการตรวจวินิจฉัยทางรังสีวิทยาแบบ Axial scans, Spiral (Helical) scans และสามารถสร้างภาพในแนว Axial, Coronal, Sagittal, Oblique reconstruction, CT Angiography, ภาพสามมิติ (3D) และสามารถรองรับการอัพเกรดทั้ง Hardware และ Software เพื่อรองรับการตรวจพิเศษชนิดอื่นรได้ในอนาคต
3. คุณสมบัติทั่วไป
เป็นเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยแบบ Multi-slice CT สามารถสร้างภาพได้สูงสุดไม่น้อยกว่า 390 ภาพต่อการหมุน 1 รอบ (360 องศา) หรือ โดยใช้ระบบ server ประมวลผลภาพพิเศษ
3.1 ชุดควบคุมการกำเนิดรังสี (X-ray Generator)
3.1.1 สามารถจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้หลอดเอกซเรย์ได้สูงสุด (Maximum output capacity) ไม่น้อยกว่า 100 kW
3.1.2 สามารถให้ปริมาณกระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอด (Tube current)
ได้สูงสุดไม่น้อยกว่า 833 mA
3.1.3 สามารถเลือกค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ป้อนให้กับหลอดเอกซเรย์ (Tube voltage) ได้ไม่น้อยกว่า 6 ค่า ค่าสูงสุดไม่น้อยกว่า 140 kVp และค่าต่ำสุดไม่มากกว่า 60 kVp
3.1.4 สามารถปล่อยค่าพลังงาน 2 ค่าพลังงาน ( 80 kVp , 140 kVp) ต่อการหมุน 1 รอบแบบสลับค่าพลังงาน
3.2 หลอดเอกซเรย์ (X–ray tube)
3.2.1 มีค่า Anode Storage Capacity สูงสุดไม่น้อยกว่า 30 M.H.U.
และมีค่า Cooling Rate ไม่น้อยกว่า 1,696kHU/min ตามมาตรฐานของผู้ผลิต
3.2.2 มีจุดกำเนิดรังสีเอกซเรย์ (Focal spot) ตามมาตรฐาน IEC สามารถทำงานได้ไม่น้อยกว่า 3 ขนาด คือ 1.1 mm x 1.2 mm , 0.6 mm x 0.7 mm และ 0.4mm x 0.7 mm.
3.3 อุปกรณ์รับรังสี (Detectors)
3.3.1 เป็น Multi-Detectors แบบ Solid State GOS Detectors มีทั้งหมด 64 แถว
3.3.2 มีจำนวน Element ทั้งหมดรวมกันไม่น้อยกว่า 672X64 elements หรือ 86,000 elements
3.3.3 อุปกรณ์รับรังสี (Detectors) ครอบคุลมระยะทางไม่น้อยกว่า 40 mm ต่อการหมุนครบ 1 รอบ (360 องศา)
3.3.4 มีค่า Spatial resolution สูงสุดไม่น้อยกว่า 24.0 lp/cm@0% MTF ทั้งใน Spiral mode และ Axial mode
3.3.5 มีค่า Spatial resolution พิเศษสูงสุดไม่น้อยกว่า 30lp/cm@0%MTF
3.3.6 สามารถให้รายละเอียดในการสร้างและแสดงภาพที่ความละเอียดได้
ไม่น้อยกว่า 3 ค่า คือค่าความละเอียดขนาด 512x512, 768x768 สูงสุดที่ 1,024x1,024 Matrix
3.4 ช่องรับตัวผู้ป่วย (Gantry)
3.4.1 มีความกว้างของช่อง (Aperture) สูงสุดไม่น้อยกว่า 72 เซนติเมตร
3.4.2 สามารถปรับเอียง (Tilt) ทำมุมได้รวมกันไม่น้อยกว่า 60 องศาหรือ
30 องศา
3.4.3 ภายใน Gantry ประกอบด้วยหลอดเอกซเรย์และอุปกรณ์รับรังสีซึ่งสามารถหมุนครบ 1 รอบ (360 องศา) ได้ด้วยความเร็วสูงโดยใช้เวลา(Scan time)
ไม่เกิน 0.259 วินาที
3.4.4 มีScan FOV: ขนาดใหญ่ อยู่ 500mm±2mm ขนาดกลางอยู่ที่ : 330 mm±2mm และขนาดเล็กอยู่ที่: 250 mm±2mm
3.4.5 มี Laser alignment lights สำหรับจัดตำแหน่งผู้ป่วย
3.4.6 มีแผงควบคุมการเลื่อนเตียง 5 จุดที่ Gantry 4 จุดและที่ Operator Console 1 จุดและ แผงควบคุมการเลื่อนเตียง มีลักษณะเป็นแกนหมุนที่เหมือนกัน
3.4.7 มีสัญลักษณ์บอกสถาณะการสแกน เป็นไฟสีรอบ Gantry และ เตียงผู้ป่วย
3.4.8 มี Temporal Resolution: 25ms
3.5 เตียงผู้ป่วย (Patient Table)
3.5.1 มี Scannable range ในการ scan แบบต่อเนื่องเป็นระยะทางสูงสุดได้
ไม่น้อยกว่า 170 เซนติเมตร
3.5.2 สามารถเลื่อนเตียงตามแนวยาวในแนวนอน (longitudinal)เป็นระยะทางสูงสุดได้ไม่น้อยกว่า 170 เซนติเมตร
3.5.3 สามารถเลื่อนเตียงได้ความเร็ว (Table Feed Speed )0375mm/s-464mm/s
3.5.4 สามารถรับน้ำหนักผู้ป่วยได้สูงสุดไม่น้อยกว่า 205kg/452 lbs
3.5.5 สามารถเลือกค่า Spiral Pitch ได้อย่างอิสระ อย่างน้อย 0.13-1.5
3.6 ความสามารถของการทำ Spiral (Helical) scan มีดังนี้
3.6.1 มีการ Scan แบบ Spiral (Helical) ได้ต่อเนื่องโดยไม่หยุดนานที่สุด
ได้ไม่น้อยกว่า 100 วินาที
3.6.2 ให้จำนวน Slice ได้สูงสุดไม่น้อยกว่า 390 slices (ภาพ) แบบ 2 ค่าพลังงานต่อการหมุน 1 รอบ และรองรับการ Upgrade software ในอนาตค
3.6.3 สามารถสร้างภาพ Slice Thickness ได้หลายค่า อย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 3 ค่า
โดยมีขนาดภาพ Slice Thickness บางที่สุดไม่เกิน 0.4 มิลลิเมตร
3.6.4 สามารถเลือก Slice increment ได้ต่ำสุดไม่เกิน 0.1 mm.และมากที่สุดไม่ต่ำ กว่า 20mm.
มากกว่าได้
3.7 ชุดควบคุมการทำงาน (Operator Console) และระบบคอมพิวเตอร์
3.7.1 ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์และแสดงภาพที่
ได้จากการ Scan สามารถทำการวิเคราะห์ภาพ ส่งภาพ เพื่อไปบันทึกลงบน
ฟิล์มหรือเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำได้และต้องมีระบบติดต่อสื่อสารกับ
ผู้ป่วย (Intercom)
3.7.2 ระบบคอมพิวเตอร์ประมวลผลหลัก(CPU) Host: 4 core, 3.5GHz Recon: 2 x(8 core, 3.2GHz) processor พร้อมระบบปฏิบัติการแบบ WindowsTM 10
3.7.3 มีHard disk แบบ SCSI สามารถเก็บข้อมูลรวมได้ไม่น้อยกว่า 1TB Recon Data Hard Disk ไม่น้อยกว่า 6T
3.7.4 มีหน่วยความจำสำรอง (RAM) ไม่น้อยกว่า Host: 16 GB Recon: 128G
3.7.5 มี DVD DICOM Drive 4.7 GB DVD Media 8,400 Images Write-RW/+RW/-DL/Read ซึ่งสามารถลบและบันทึกข้อมูลใหม่ได้
3.7.6 มีFlat Screen Dual Monitor 24"(61cm) 1,920 x 1,200 ความละเอียดในการแสดงภาพ (Monitor Resolution)ไม่น้อยกว่า 1,024 x 1,024 Image Display Matrix
3.7.7 มีความละเอียดในการสร้างภาพโดยใช้ Reconstruction Matrix ต่ำสุดไม่น้อยกว่า 512x512 และสูงสุดไม่เกิน 1,024x1,024 matrix
3.7.8 มีระบบการจัดการปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยจะได้รับ (Dose management program) เช่น CTDIw หรือ O- Dose หรือเทียบเท่า
3.7.9 มีโปรแกรมมาตรฐานในการวัดค่าต่างๆ และแสดงค่า Image Measurement จะต้องวัดค่าต่อไปนี้ได้
3.7.9.1 Region of interest (ROI)
3.7.9.2 Distance Measurement (Lines, grid and scales)
3.7.9.3 Angle Measurement
3.7.9.4 CT number ( Cursors for pixel value measurements)
Text Annotation
3.7.10 มีโปรแกรมควบคุมการ Scan โดยอัตโนมัติในระหว่างการฉีดสารทึบรังสี
(Bolus tracking)
3.7.11 มีโปรแกรม Realtime Multiplanar Reformation หรือ Realtime Multiplanar Reconstruction (MPR) ซึ่งสามารถสร้างภาพ Real time ในระนาบต่อไปนี้ Sagittal, Coronal, Oblique และ Curved
3.7.12 มีโปรแกรม Maximum and Minimum Intensity Projection (MIP) หรืออื่นๆที่เทียบเท่า หรือสูงกว่า
3.7.13 มีโปรแกรม Volume Rendering หรือ VR
3.7.14 มีโปรแกรม cardiac CTA สำหรับการตรวจหัวใจ พร้อมโปรแกรมวินัจฉับปริมาณแคลเชียมในหลอดเลือด
3.7.15 มีโปรแกรม Colonoscopy ในการตรวจลำไส้ และ โปรแกรม Fly-though
3.7.16 มีโปรแกรมสร้างหลอดเลือด (CT Angiography) หรืออื่นๆที่เทียบเท่า
หรือสูงกว่า
3.7.17 3D SSD Reconstruction เพื่อช่วยสร้างภาพ 3 มิติ ได้อย่างรวดเร็ว สามารถจัดการกับภาพ 3 มิติ แบบ Real Time ได้
3.7.18 มีโปรแกรมช่วยลด Artifact จากโลหะขณะสแกน MAR+ (Metal Artifact Reduction )
3.7.19 มีโปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ (AI ) เพื่อช่วยลดปริมาณรังสีระหว่างสแกน
3.7.20 มีระบบการเขียนข้อมูลลงบนแผ่น CD และมี software Dicom Viewer หรืออื่นๆที่เทียบเท่า หรือสูงกว่า เพื่อใช้ดูภาพจากคอมพิวเตอร์ปกติทั่วไป
3.7.21 มีมาตรฐานของ DICOM 3 ซึ่งประกอบด้วย DICOM 3.0 DICOM Storage (Send/Receive) DICOM Query/Retrieve DICOM Basic print DICOM Get Worklist (HIS/RIS) DICOM MPPS DICOM Storage Commitment DICOM Viewer on CD
3.8 ใช้ไฟฟ้ากระแสสลับ 380 V. และ 220V. 50HZ.
3.9 มีระบบ software postprocessing ดังนี้
3.9.1 มีโปรแกรมมาตรฐานในการวัดค่าต่างๆ และแสดงค่า Image Measurement จะต้องวัดค่าต่อไปนี้ได้
3.9.1.1 Region of interest (ROI)
3.9.1.2 Distance Measurement (Lines, grid and scales)
3.9.1.3 Angle Measurement
3.9.1.4 CT number ( Cursors for pixel value measurements)
3.9.1.5 Zoom & Pan
3.9.1.6 Histogram, Profile
3.9.1.7 Text Annotation
3.9.2 มีโปรแกรม Volume Rendering หรือ VR
3.9.3 มีโปรแกรมสร้างหลอดเลือดและวิเคราะห์ (CT Angiography) หรืออื่นๆที่เทียบเท่าหรือสูงกว่า
3.9.4 3D SSD Reconstruction เพื่อช่วยสร้างภาพ 3 มิติ ได้อย่างรวดเร็ว สามารถจัดการกับภาพ 3 มิติ แบบ Real Time ได้
3.9.5 มีโปรแกรมวิเคราะห์ Brain perfusion
3.9.6 มีโปรแกรมวิเคราะห์ Lung Nodule Analysis
3.9.7 มีโปรแกรมวิเคราะห์ Vessel Analysis
3.9.8 มีมาตรฐานของ DICOM 3 ซึ่งประกอบด้วย DICOM 3.0 Storage (send/receive ส่งภาพชนิด DICOM ออกไปเก็บยัง computer server, computer workstation อื่น ๆ และรับภาพชนิด DICOM มาเก็บไว้ได้), SCU/SCP, Query/Retrieve, DICOM print (ส่งภาพพิมพ์ออกเครื่อง DICOM printer) ได้ และสามารถเชื่อมโยงหรือมีระบบที่สามารถส่งภาพจากระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์เข้าสู่ระบบ network ของโรงพยาบาลได้ในอนาคต
3.9.9 สามารถส่งภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่เป็น DICOM Format เพื่อแปลงเป็นภาพแบบ BMP, PNG, JPG, TIFF และสามารถเขียนข้อมูลภาพลง CD-ROM ได้
3.9.10 สามารถทำการบันทึกภาพลงบน CD-ROM พร้อมซอฟต์แวร์DICOM Viewer ซึ่งสามารถนำไปเปิดกับเครื่อง PC ทั่วไปที่ไม่มี DICOM Viewer Software โดยการบันทึกนั้นเป็นชนิด Free License สามารถบันทึกได้ไม่จำกัดจำนวนครั้งมีระบบรองรับภาพทางรังสีอื่น เช่น NM, CT, MR, CR เป็นต้น
3.10 มีระบบ software postprocessing สำหรับสองค่าพลังงาน ดังนี้
3.10.1 มีโปรแกรมวิเคราะห์ โรคเกาต์
3.10.2 มีโปรแกรมวิเคราะห์ ลด Metal Artifact
3.10.3 มีโปรแกรมวิเคราะห์ Virtual non contrast
3.10.4 มีโปรแกรมวิเคราะห์สารทึบรังสีและ plaque
4. อุปกรณ์ที่จะส่งพร้อมกับเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
4.1 Table Mattress พร้อมสายรัดผู้ป่วย 1 ชุด
4.2 ชุดรองรับศรีษะสำหรับตรวจ (Axial and Coronal Head Support) 1 ชุด
4.3 Pediatric (Infant) Cradle พร้อมสายรัด 1 ชุด
4.4 15 min UPS สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ชุด
4.5 โต๊ะสำหรับ Console 1 ตัว
4.6 Console Chairs 2 ตัว
4.7 มี Phantoms 3 ชุด
4.8 Position accessories 1 ชุด
4.9 Operative manual 1 ชุด
4.10 Dual Injector 1 ชุด
5. การติดตั้ง
5.1 การติดตั้งเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ต้องทำโดยช่างที่ผ่านการอบรมจากโรงงาน
ผู้ผลิตและควบคุมโดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญของบริษัท
5.2 ผู้ขายต้องติดตั้งเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ให้เหมาะสมพร้อมใช้งานได้
ภายใน 60 วัน นับแต่วันเซ็นสัญญา
5.3 ผู้ขายต้องปรับปรุงหรือให้คำแนะนำสถานที่ให้มีการป้องกันอันตรายจากรังสีให้เป็น
ไปตามข้อกำหนดของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
6. เงื่อนไขการรับประกันคุณภาพ
6. 1 บริษัทฯรับประกันความเสียหายที่เกิดจากการใช้งานตามปกติกับทุกส่วนของเครื่องตลอดจนอุปกรณ์ ทุกชิ้นในสัญญาทั้งหมดโดยไม่คิดค่าใช้จายใดๆ ทั้งสิ้นเป็น ระยะเวลาอย่างน้อย 2 ปี
6.2 รับประกันเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ พร้อมอะไหล่ และ หลอดเอกซเรย์เป็น ระยะเวลา 10 ปี
7. เงื่อนไขอื่นๆ
บริษัทฯ จะจัด Applications specialist ของทางบริษัทฯ ดูแลและสอนการใช้งานเครื่อง CT แก่บุคลากรของทางโรงพยาบาล จนกว่าจะสามารถใช้งานเครื่องได้อย่างเต็มความสามารถ